แนวทางการเทียบข้อกำหนดตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ.2563 ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวง สาธารณสุข(ฉบับที่ 420) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการ ผลิต และการเก็บอาหารรักษาอาหารกำหนดให้ผู้นำเข้าอาหาร ตามขอบข่ายที่จะบังคับใช้ ต้องจัดให้มีเอกสารหรือใบรับ รองมาตรฐานระบบการผลิตที่เทียบเท่าหรือไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ ที่กำหนดในบัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับนี้ ทั้งนี้ หากผู้ประกอบการมีความประสงค์จะให้ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา พิจารณาความสอดคล้องหรือ เทียบเคียงข้อกำหนดหรือมาตรฐานระบบการผลิตของต่าง ประเทศว่าสามารถเทียบเท่าหรือสอดคล้องกับข้อกำหนดตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข(ฉบับที่ 420) หรือไม่ ต้องดำเนิน การจัดเตรียมเอกสารประกอบการพิจารณาดังต่อไปนี้ 1. สำเนาใบรับรองสถานที่ผลิตอาหารที่ระบุข้อ กฎหมาย/ หลักเกณฑ์/ ข้อกำหนด/ รายละเอียด การตรวจประเมิน สถานที่ผลิตอาหาร 2. เอกสารฉบับเต็มที่แสดงข้อกฎหมาย/ หลักเกณฑ์/ ข้อกำหนด/ รายละเอียด ที่ต้องการเทียบเคียงตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 กรณีเป็นภาษาอื่น ที่มิใช่ภาษาอังกฤษ ให้แนบคำแปลที่เป็นภาษาไทยหรือภาษา อังกฤษที่ผ่านการรับรองคำแปลจากสถานทูตไทยในประเทศผู้ ผลิต หรือสถานทูตของผู้ผลิตในประเทศไทย หรือหน่วยงานของ รัฐ หรือหน่วยงานของเอกชนที่ดำเนินธุรกิจการแปลเอกสาร ที่เป็นมาตรฐาน 3. ระบุรายละเอียดลงในตารางเปรียบเทียบ ในคอลัมน์ “ข้อกำหนดตามเอกสารฉบับเต็มที่แสดงข้อกฎหมาย/ หลักเกณฑ์/ ข้อกำหนด/ รายละเอียด ที่ต้องการเทียบเคียงตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข” ตามตารางแนบท้าย หากพบว่ามีรายละเอียด ไม่ครบตามหัวข้อที่กำหนด ผู้ประกอบการก็จะสามารถพิจารณา ได้เบื้องต้นว่า ข้อกฎหมาย/ หลักเกณฑ์/ ข้อกำหนด/ ราย ละเอียด ที่อ้างถึงนั้นไม่เทียบเท่าประกาศกระทรวง สาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราช บัญญัติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ข้อกำหนดพื้น ฐาน แต่หากผู้ประกอบการสามารถใส่รายละเอียดได้ครบทุกข้อ ให้ส่งหลักฐาน ดังข้อ 1 และ 2 รวมทั้งตารางที่ 1 มายังกอง อาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือทางจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ pre_fda@fda.moph.go.th เพื่อพิจารณาและ แจ้งตอบกลับผู้ประกอบการต่อไป 4. รายละเอียดตัวอย่างมาตรฐานระบบการผลิตอาหารที่ เทียบเท่าหรือไม่ต่ำกว่าบัญชีแนบท้าย ตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราช บัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร.ที่เทียบเท่าตาม ประตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 สามารถสืบค้นได้ที่ (www.http://food.fda.moph.go.th/law/data/Ex_420.pdf) หมายเหตุ-1. กรณีการนำเข้าผลิตภัณฑ์อาหารที่ สถานที่ผลิตต้องถูกบังคับเพิ่มเติมไปจากข้อกำหนดพื้น ฐาน ให้ผู้ประกอบการทำตารางเทียบเคียงตามตารางที่ 1 2. กรณีการนำเข้าน้ำแร่ธรรมชาติ น้ำ บริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท น้ำแข็งเพื่อการบริโภค จัดทำตารางเปรียบเทียบข้อกำหนดเพิ่มเติม ตามตารางที่ 2 3. กรณีการนำเข้านมโค นมปรุงแต่ง ผลิตภัณฑ์ นมชนิดเหลวที่ใช้กระบวนการฆ่าเชื้อโดยวิธีการพาสเจอร์ ไรส์ จัดทำตารางเปรียบเทียบข้อกำหนดเพิ่มเติม ตามตาราง ที่ 3 4. กรณีการนำเข้าผลิตภัณฑ์อาหารในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำ และชนิดที่ปรับ กรดที่ผ่านกรรมวิธีทำให้ปลอดเชื้อเชิงการค้า จัดทำตา รางเปรียบเทียบข้อกำหนดเพิ่มเติม ตามตารางที่ 4 5. เจ้าหน้าที่จะเป็นผู้พิจารณาให้ เครื่องหมาย √ ในช่อง สอดคล้อง หรือ ไม่สอดคล้อง ตารางที่ 1 เปรียบเทียบข้อกำหนดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อง วิธีการ ผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ข้อกำหนด พื้นฐาน ข้อกำหนดตามประกาศกระทรวง ข้อกำหนดตามเอกสารฉบับ สอดคล ไม่ สาธารณสุข (ฉบับที่ 420) เต็มที่แสดงข้อกฎหมาย/ ้อง สอดคล พ.ศ. 2563 หลักเกณฑ์/ ข้อกำหนด/ ราย ้อง ละเอียด ที่ต้องการเทียบ เคียงประตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข หมวดที่ 1 สถานที่ตั้งอาคารผลิต การทําความสะอาด และการบํารุง รักษา /Location, Production Building, Cleaning and Maintenance 1.1 ทําเลที่ตั้งต้องห่างจาก แหล่งที่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน เช่น สิ่งปฏิกูล วัตถุอันตราย คอก สัตว์ฝุ่นควัน น้ำท่วมขัง/ Location of a production building shall be located with sufficient clearance from sources of contamination such as rubbish, hazardous substances, animal pens, dust, smoke, flooding. Effective preventive measures shall be applied in case of the location is located anywhere where it is not suitable and will create a threat to food safety. 1.2 บริเวณโดยรอบอาคารผลิตและ ภายในอาคารผลิต ไม่มีการ สะสม สิ่งของไม่ใช้แล้ว หรือไม่ เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหาร/Areas around and inside of a production building shall be clear of objects not in use or not required for manufacturing that may build up of dirt or being harborage or breeding source for animals, insects and pathogens. Additionally, measures to prevent unintended use of the damaged objects shall be

docxDoc Requirements420

Practical Docs > Common > Other > Preview
148 Pages 0 Downloads 35 Views 3.0 Score
Tips: Current document can only be previewed at most page3,If the total number of pages in the document exceeds page 3,please download the document。
Uploaded by admin on 2022-04-21 01:52:02
Rate
You can enter 255 characters
What is my domain?( answer:www.45doc.com )
comments
  • No comments yet